วันอาทิตย์ที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2557

การตกแต่งตัวอักษร

รูปแบบแท็ก Code และการแสดงผล
1.การกำหนดแบบอักษร
        <FONT  FACE = "......."> … </FONT> การกำหนดรูปแบบของตัวอักษรในเว็บเพจที่เราต้องการให้แสดงออกบนเว็บ 


2.ขนาดตัวอักษร
เราสามารถกำหนดขนาดของตัวอักษรได้ 2 วิธี


       1. ในกรณีที่เป็นหัวข้อ (Heading) สามารถใช้คำสั่งต่อไปนี้
<H1>ขนาดใหญ่สุด</H1>
<H2>
ขนาดใหญ่</H2>
<H3>
ขนาดกลาง</H3>
<H4>
ขนาดปกติ</H4>
<H5>
ขนาดเล็ก</H5>
<H6>
ขนาดเล็กสุด<H6>


2. ในกรณีทั่วไป จะใช้คำสั่ง <FONT SIZE=ค่าตัวเลข> เช่น

<FONT SIZE=3>
ตัวอักษรขนาด 3</FONT> หรือ
<FONT SIZE=5>
ตัวอักษรขนาด 5</FONT>

ตัวอย่างการใช้คำสั่ง    









3.สีตัวอักษร
สีของตัวอักษร
สีของตัวอักษร สามารถกำหนดได้ 2 แนวทางคือ
1. ใช้คำสั่ง <FONT COLOR=ชื่อสี> เช่น 
<FONT COLOR=red>
ตัวอักษรสีแดง</FONT> หรือ 
<FONT COLOR=green>
ตัวอักษรสีเขียว</FONT>
2. ใช้คำสั่ง <FONT COLOR=รหัสสี> เช่น
<FONT COLOR=#FF00FF>
ตัวอักษรสีชมพู</FONT> หรือ
<FONT COLOR=#0000FF>
ตัวอักษรสีน้ำเงิน</FONT>


ตัวอย่างการใช้คำสั่ง

  <html>
<head><title> ....การหนดรูปแบบสีข้อความ....</title></head>
<body>
<font color = "red">
 ข้อความนี้กำหนดให้เป็นสีแดง</font> <br>
<font color = "#0000ff">
 ข้อความนี้กำหนดให้เป็นสีน้ำเงิน </font> <br>
</body>
 
</html>







4.
ตัวเอียง ตัวหนา ตัวขีดเส้นใต้
คำสั่งจะแบ่งได้เป็น 2 พวกดังนี้
1.แบ่งตามลักษณะที่ปรากฏ เช่น ตัวเอียง ตัวหนา
<B>   ตัวอักษรแบบตัวหนา (bold)
<I>    ตัวอักษรแบบตัวเอน (italic)
<U>   ตัวอักษรแบบขีดเส้นใต้ (underline)

2.แบ่งตามการใช้งาน เช่น ใช้กับคำพูดหรือวลี ใช้กับข้อความที่สำคัญมาก
<Em> <Stong> <Ins> <Del> <Code> <Address>  ใช้เน้นข้อความ คำพูดหรือวลี (emphasized) ใช้เน้นข้อความที่สำคัญมากๆ (strong) ใช้เน้นข้อความที่แก้ไขเพิ่มเติม (inserted) ใช้บอกว่าข้อความนี้ถูกลบไปแล้ว (deleted) ใช้บอกว่าข้อความที่เป็นโปรแกรม (computer code) ใช้บอกว่าข้อความที่เป็นที่อยู่ (computer code)




5.ตัวขีดฆ่า ตัวยก ตัวห้อย

1.     <s>...</s>     ใช้แสดงข้อความแบบขีดฆ่าตัวอักษร ทั้งนี้เพื่อเน้นข้อความเปรียบเทียบหรือต้องการในประโยคนั้น
2. <SUP> … </SUP>  และ  <SUB> …</SUB> การกำหนดแบบอักษรตัวห้อยและแบบอักษรตัวยกในเว็บเพจนั้น เราสามารถกำหนดขนาดของตัวอักษรได้ดังนี้ 

6.ตัวอักษณวิ่ง ตัวอักษรกระพริบ
1.   <MARQUEE> .......... </MARQUEE>ใช้สำหรับแสดงข้อความแบบเคลื่อนที่ไปยังทิศทางที่เราต้องการ มีรูปแบบการใช้ดังน  <marquee scrolldelay="ความเร็ว" 
direction="ทิศทางวิ่ง">ข้อความ</marquee>    - scrolldelay ให้แทนค่าด้วยความเร็วเป็น ตัวเลข ส่วน direction ใส่ได้เฉพาะ Up,Down,Left และ Right   

2.<blink>...</blink> ใช้กำหนดแสดงข้อความแบบกระพริบ จะมีลักษณะการแสดงผลเป็นแบบติด - ดับ สลับกันไป

7.การจัดตำแหน่งข้อความ
1. การกำหนดให้อยู่ตำแหน่งกึ่งกลางด้วยแท็ก Center  <center> ...ข้อความ...</center>
2. การกำหนดตำแหน่งโดยใช้ Attribute ของแท็ก <p> โดยใช้ Attribute align รูปแบบดังนี้ <p      align = "ตำแหน่ง"> ...ข้อความ...</p>
 ตำแหน่งที่สามารถระบุได้ คือ left center หรือ right








ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น